ความรู้รอบตัวเกี่ยวกับประเทศไทย
หมวดภูมิศาสตร์
พื้นที่
ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,120 ตารางกิโลเมตร หรือ 198,120 ตารางไมล์ อยู่ในอันดับที่ 50 ของโลก เป็นพื้นที่แหล่งน้ำ 2,230 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ป่า 163,539.89 ตารางกิโลเมตร
ที่ตั้ง
พื้นที่
ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,120 ตารางกิโลเมตร หรือ 198,120 ตารางไมล์ อยู่ในอันดับที่ 50 ของโลก เป็นพื้นที่แหล่งน้ำ 2,230 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ป่า 163,539.89 ตารางกิโลเมตร
ที่ตั้ง
- ทวีป : เอเชีย
- โซน / อนุทวีป : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- คาบสมุทร : อินโดจีน
- พิกัด : ละติจูด 5° ถึง 21° เหนือ และลองติจูด 97° ถึง 106° ตะวันออก
- โซน / อนุทวีป : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- คาบสมุทร : อินโดจีน
- พิกัด : ละติจูด 5° ถึง 21° เหนือ และลองติจูด 97° ถึง 106° ตะวันออก
อาณาเขต
ทิศเหนือ : ติดต่อกับประเทศเมียนมาร์ และประเทศ สปป.ลาว
ทิศใต้ : ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย และอ่าวไทย (มหาสมุทรแปซิฟิก)
ทิศตะวันออก : ติดต่อประเทศกัมพูชา และประเทศ สปป.ลาว
ทิศตะวันตก : ติดต่อกับประเทศเมียนมาร์และทะเลอันดามัน (มหาสมุทรอินเดีย)
ทิศใต้ : ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย และอ่าวไทย (มหาสมุทรแปซิฟิก)
ทิศตะวันออก : ติดต่อประเทศกัมพูชา และประเทศ สปป.ลาว
ทิศตะวันตก : ติดต่อกับประเทศเมียนมาร์และทะเลอันดามัน (มหาสมุทรอินเดีย)
ทะเล
ประเทศไทยมีพื้นที่ติดกับทะเล 2 แห่ง ได้แก่
1. ทะเลอ่าวไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิก
2. ทะเลอันดามัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดีย
ป่าไม้ / สัตว์ป่า / พื้นที่อนุรักษ์
พื้นที่ป่า : 102,212,434.37 ไร่ (ดูเพิ่มเติม : พื้นที่ป่าแยกตามจังหวัด)
อุทยานแห่งชาติ : 155 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่ออุทยานแห่งชาติในประเทศไทย)
วนอุทยาน : 91 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อวนอุทยานในประเทศไทย)
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า : 62 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าในประเทศไทย)
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า : 96 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเขตห้ามล่าสัตว์ป่าในประเทศไทย)
ป่าสงวนแห่งชาติ : 1,221 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อป่าสงวนแห่งชาติในประเทศไทย)
สวนรุกขชาติ : 53 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อสวนรุกขชาติในประเทศไทย)
จังหวัด/อำเภอ
ประเทศไทยมีพื้นที่ติดกับทะเล 2 แห่ง ได้แก่
1. ทะเลอ่าวไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิก
2. ทะเลอันดามัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดีย
ป่าไม้ / สัตว์ป่า / พื้นที่อนุรักษ์
พื้นที่ป่า : 102,212,434.37 ไร่ (ดูเพิ่มเติม : พื้นที่ป่าแยกตามจังหวัด)
อุทยานแห่งชาติ : 155 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่ออุทยานแห่งชาติในประเทศไทย)
วนอุทยาน : 91 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อวนอุทยานในประเทศไทย)
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า : 62 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าในประเทศไทย)
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า : 96 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเขตห้ามล่าสัตว์ป่าในประเทศไทย)
ป่าสงวนแห่งชาติ : 1,221 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อป่าสงวนแห่งชาติในประเทศไทย)
สวนรุกขชาติ : 53 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อสวนรุกขชาติในประเทศไทย)
จังหวัด/อำเภอ
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : จังหวัดนครราชสีมา (20,493.96 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในประเทศไทย : จังหวัดสมุทรสงคราม (416.70 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ : จังหวัดเชียงใหม่ (20,107 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคเหนือ : จังหวัดลำพูน (4,505.90 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคกลาง : จังหวัดเพชรบูรณ์ (12,668.40 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคกลาง : จังหวัดสมุทรสงคราม (416.70 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : จังหวัดนครราชสีมา (20,493.96 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : จังหวัดหนองคาย (3,027.28 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ : จังหวัดสุราษฎร์ธานี (12,891.47 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคใต้ : จังหวัดภูเก็ต (543.03 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออก : จังหวัดสระแก้ว (7,195.40 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคตะวันออก : จังหวัดตราด (2,819 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก : จังหวัดกาญจนบุรี (19,483.20 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคตะวันตก : จังหวัดเพชรบุรี (6,225.10 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไทย : กรุงเทพมหานคร 5,527,994 คน (2564)
- จังหวัดที่มีประชากรน้อยที่สุดในประเทศไทย : จังหวัดสมุทรสงคราม 190,842 คน (2564)
- อำเภอที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก (4,325.40 ตารางกิโลเมตร)
- อำเภอที่เล็กที่สุดในประเทศไทย : อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี (17.30 ตารางกิโลเมตร)
- อำเภอที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในประเทศไทย : อำเภอเมืองสมุทรปราการ 542,881 คน (2564)
- อำเภอที่มีจำนวนประชากรน้อยที่สุดในประเทศไทย : อำเภอเกาะกูด 2,679 คน (2564)
แม่น้ำ
- แม่น้ำที่ยาวที่สุดของประเทศไทย : แม่น้ำชี
- แม่น้ำที่มีความสำคัญมากที่สุดของประเทศไทย : แม่น้ำเจ้าพระยา
- แม่น้ำที่ยาวที่สุดของประเทศไทย : แม่น้ำชี
- แม่น้ำที่มีความสำคัญมากที่สุดของประเทศไทย : แม่น้ำเจ้าพระยา
- แม่น้ำสายสำคัญในภาคต่าง ๆ
- ภาคเหนือ : แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง แม่น้ำยม แม่น้ำน่าน แม่น้ำกก แม่น้ำลาว แม่น้ำรวก แม่น้ำอิง แม่น้ำสาย แแม่น้ำปาย แม่น้ำยวม และแม่น้ำเมย
- ภาคใต้ : แม่น้ำกระบุรี แม่น้ำหลังสวน แม่น้ำตะกั่วป่า แม่น้ำท่าทอง แม่น้ำพุมดวง แม่น้ำตาปี แม่น้ำปากพนัง แม่น้ำกลาย แม่น้ำตรัง แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำปัตตานี และแม่น้ำโกลก
- ภาคกลาง : แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก แม่น้ำลพบุรี แม่น้ำสะแกกรัง และแม่น้ำแม่กลอง
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม
- ภาคตะวันออก : แม่น้ำระยอง แม่น้ำจันทบุรี แม่น้ำประแสร์ แม่น้ำตราด แม่น้ำบางปะกง
- ภาคตะวันตก : แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำแควใหญ่ แม่น้ำแควน้อย แม่น้ำเมย แม่น้ำเพชรบุรี แม่น้ำปราณบุรี และแม่น้ำปิง
- เทือกเขาที่สำคัญของประเทศไทย
- เทือกเขาตะนาวศรี
- เทือกเขาถนนธงชัย
- เทือกเขาพนมดงรัก
- เทือกเขาสันกาลาคีรี
- เทือกเขาผีปันน้ำ
- เทือกเขาดงพญาเย็น
- เทือกเขาภูพาน
- เทือกเขาภูเก็ต
เกาะ
ประเทศไทยมีเกาะทั้งหมด 936 เกาะ แบ่งออกเป็น
- เกาะในอ่าวไทย จำนวน 374 เกาะ
- เกาะในทะเลอันดามัน จำนวน 562 เกาะ
- เกาะในอ่าวไทย จำนวน 374 เกาะ
- เกาะในทะเลอันดามัน จำนวน 562 เกาะ
เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
- อันดับ 1 เกาะภูเก็ต พื้นที่ 514.675 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทะเลอันดามัน
- อันดับ 1 เกาะภูเก็ต พื้นที่ 514.675 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทะเลอันดามัน
- อันดับ 2 เกาะสมุย พื้นที่ 236.079 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในอ่าวไทย
- อันดับ 3 เกาะช้าง พื้นที่ 212.404 ตารางกิโลเมตร อยู่ในอ่าวไทย
- อันดับ 4 เกาะตะรุเตา พื้นที่ 150.840 ตารางกิโลเมตร อยู่ในทะเลอันดามัน
- อันดับ 5 เกาะพะงัน พื้นที่ 122.017 ตารางกิโลเมตร อยู่ในอ่าวไทย
ดูเพิ่มเติม : 10 อันดับเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
จุดสำคัญทางภูมิศาสตร์
- จุดเหนือสุด : อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย พิกัด : 20°28′N 99°57′E
- จุดใต้สุด : อำเภอเบตง จังหวัดยะลา พิกัด : 5°37′N 101°8′E
- จุดตะวันออกสุด : อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี พิกัด : 15°38′N 105°23′E
- จุดตะวันตกสุด : อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พิกัด : 18°34′N 97°21′E
- จุดใต้สุด : อำเภอเบตง จังหวัดยะลา พิกัด : 5°37′N 101°8′E
- จุดตะวันออกสุด : อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี พิกัด : 15°38′N 105°23′E
- จุดตะวันตกสุด : อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พิกัด : 18°34′N 97°21′E
อื่น ๆ
- อ่างเก็บน้ำที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : อ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ มีความจุ 17,745 ล้านลูกบาศก์เมตร
- แหล่งน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ มีขนาด 132,737 ไร่
- ทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : ทะเลสาบสงขลา
- พรมแดนทางบก : 4,863 กิโลเมตร
- ความยาวชายฝั่งทะเล : 3,219 กิโลเมตร
- ทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : ทะเลสาบสงขลา
- พรมแดนทางบก : 4,863 กิโลเมตร
- ความยาวชายฝั่งทะเล : 3,219 กิโลเมตร
------------------------------------------------------------------------------------------------
หมวดสังคมศาสตร์
ประชากร
ตามฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด 66,171,439 คน แบ่งเป็น
- สัญชาติไทย 65,197,783 คน
- ชาย : 31,829,467 คน
- หญิง : 33,368,316 คน
- ชาย : 509,651 คน
- หญิง : 464,005 คน
จำนวนครัวเรือน : 21,404,086 ครัวเรือน
ดูเพิ่มเติม : จำนวนประชากรประเทศไทยแยกรายจังหวัด
ชาติพันธุ์
- ชาติพันธุ์ไทย 86%
- ไทยภาคกลาง 39%
- ไทยอีสาน 28%
- ไทยเหนือ (คนเมือง) 10%
- ไทยถิ่นใต้ 9%
- ชาติพันธุ์เขมร 3%
- ชาติพันธุ์มลายู 2%
- ชาติพันธุ์ไทยชนกลุ่มน้อย 9% (68 กลุ่ม)
ภาษา
- ภาษาราชการ : ภาษาไทยกลาง
- ภาษาถิ่นภาคเหนือ : ภาษาเหนือ / คำเมือง
- ภาษาถิ่นภาคใต้ : ภาษาใต้ / ภาษามาลายู
- ภาษาถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ภาษาอีสาน / ภาษาลาว
หมายเหตุ นับเฉพาะภาษาหลัก ไม่นับรวมภาษาถิ่นย่อย ๆ และภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีนับร้อยภาษา
- ภาษาราชการ : ภาษาไทยกลาง
- ภาษาถิ่นภาคเหนือ : ภาษาเหนือ / คำเมือง
- ภาษาถิ่นภาคใต้ : ภาษาใต้ / ภาษามาลายู
- ภาษาถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ภาษาอีสาน / ภาษาลาว
หมายเหตุ นับเฉพาะภาษาหลัก ไม่นับรวมภาษาถิ่นย่อย ๆ และภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีนับร้อยภาษา
ศาสนา
ตามข้อมูลสถิติ คนไทยนับถือศาสนาดังนี้
ตามข้อมูลสถิติ คนไทยนับถือศาสนาดังนี้
- ศาสนาพุทธ 93.5%
- ศาสนาอิสลาม 5.4%
- ศาสนาคริสต์ 1.13%
- ศาสนาฮินดู 0.02%
- ไม่มีศาสนา / ไม่ระบุ 0.003%
------------------------------------------------------------------------------------------------
หมวดพระมหากษัตริย์
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของไทย
- พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ องค์ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย (ดูเพิ่มเติม : พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของไทย)
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์นานที่สุดของไทย
- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี ครองราชย์นาน 70 ปี (ดูเพิ่มเติม : พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดของประเทศไทย 10 พระองค์)
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สั้นที่สุด
- สมเด็จพระเจ้าทองลัน แห่งกรุงศรีอยุธยา ครองราชย์นาน 7 วัน (ดูเพิ่มเติม : พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สั้นที่สุดของประเทศไทย)
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรสุโขทัย
- พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรอยุธยา
- สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรกรุงธนบุรี
- สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์
- สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
- พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ องค์ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย (ดูเพิ่มเติม : พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของไทย)
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์นานที่สุดของไทย
- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี ครองราชย์นาน 70 ปี (ดูเพิ่มเติม : พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดของประเทศไทย 10 พระองค์)
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สั้นที่สุด
- สมเด็จพระเจ้าทองลัน แห่งกรุงศรีอยุธยา ครองราชย์นาน 7 วัน (ดูเพิ่มเติม : พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สั้นที่สุดของประเทศไทย)
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรสุโขทัย
- พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรอยุธยา
- สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรกรุงธนบุรี
- สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์
- สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ราชวงศ์ของอาณาจักรกรุงศรีอยธยา
กรุงศรีอยุธยามี 5 ราชวงศ์ ได้แก่
1. ราชวงศ์อู่ทอง มีสมเด็จพระเจ้าอู่ทองเป็นองค์ต้นราชวงศ์
2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ มีขุนหลวงพะงั่วเป็นองค์ต้นราชวงศ์
3. ราชวงศ์พระร่วง มีสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเป็นองค์ต้นราชวงศ์
4. ราชวงศ์ปราสาททอง มีสมเด็จพระเจ้าปราสาททองเป็นองค์ต้นราชวงศ์
5. บ้านพลูหลวง มีสมเด็จพระเพทราชาเป็นองค์ต้นราชวงศ์
กรุงศรีอยุธยามี 5 ราชวงศ์ ได้แก่
1. ราชวงศ์อู่ทอง มีสมเด็จพระเจ้าอู่ทองเป็นองค์ต้นราชวงศ์
2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ มีขุนหลวงพะงั่วเป็นองค์ต้นราชวงศ์
3. ราชวงศ์พระร่วง มีสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเป็นองค์ต้นราชวงศ์
4. ราชวงศ์ปราสาททอง มีสมเด็จพระเจ้าปราสาททองเป็นองค์ต้นราชวงศ์
5. บ้านพลูหลวง มีสมเด็จพระเพทราชาเป็นองค์ต้นราชวงศ์
ดูเพิ่มเติม : รายละเอียดราชวงศ์ของอาณาจักรอยุธยา
พระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเทิดพระเกียรติเป็นมหาราช
มหาราชของประเทศไทยมี 7 พระองค์ ได้แก่
พระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเทิดพระเกียรติเป็นมหาราช
มหาราชของประเทศไทยมี 7 พระองค์ ได้แก่
- พ่อขุนรามคำแหงมหาราช แห่งอาณาจักรสุโขทัย
- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช แห่งอาณาจักรอยุธยา
- สมเด็จพระนารายณ์มหาราช แห่งอาณาจักรอยุธยา
- สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แห่งอาณาจักรกรุงธนบุรี
- สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระปิยมหาราช) รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
- พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พระภัทรมหาราช) รัชกาลที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ดูเพิ่มเติม : รายพระนามมหาราชของประเทศไทย
จำนวนพระมหากษัตริย์ของประเทศไทย
ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์มาแล้ว 53 พระองค์ แบ่งออกเป็น
- อาณาจักรสุโขทัย 9 พระองค์ (ดูเพิ่มเติม : รายพระนามพระมหากษัตริย์อาณาจักรสุโขทัย)
- อาณาจักรอยุธยา 33 พระองค์ (ดูเพิ่มเติม : รายพระนามพระมหากษัตริย์อาณาจักรอยุธยา)
- อาณาจักรกรุงธนบุรี 1 พระองค์
- อาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์ 10 พระองค์
ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์มาแล้ว 53 พระองค์ แบ่งออกเป็น
- อาณาจักรสุโขทัย 9 พระองค์ (ดูเพิ่มเติม : รายพระนามพระมหากษัตริย์อาณาจักรสุโขทัย)
- อาณาจักรอยุธยา 33 พระองค์ (ดูเพิ่มเติม : รายพระนามพระมหากษัตริย์อาณาจักรอยุธยา)
- อาณาจักรกรุงธนบุรี 1 พระองค์
- อาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์ 10 พระองค์
ดูเพิ่มเติม : รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์
------------------------------------------------------------------------------------------------
หมวดการเมืองการปกครอง
เมืองหลวง
เมืองหลวงปัจจุบัน : กรุงเทพมหานคร (Bangkok, Krung Thep Maha Nakhon)
เมืองหลวงเก่า :
- กรุงสุโขทัย (อาณาจักรสุโขทัย)
- กรุงศรีอยุธยา, เมืองพิษณุโลก, เมืองละโว้ (อาณาจักรอยุธยา)
- กรุงธนบุรี (อาณาจักรธนบุรี)
- นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ (อาณาจักรล้านนา)
หมวดการเมืองการปกครอง
เมืองหลวง
เมืองหลวงปัจจุบัน : กรุงเทพมหานคร (Bangkok, Krung Thep Maha Nakhon)
เมืองหลวงเก่า :
- กรุงสุโขทัย (อาณาจักรสุโขทัย)
- กรุงศรีอยุธยา, เมืองพิษณุโลก, เมืองละโว้ (อาณาจักรอยุธยา)
- กรุงธนบุรี (อาณาจักรธนบุรี)
- นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ (อาณาจักรล้านนา)
หมายเหต
- เมืองหลวงปัจจุบัน จะใช้ Bangkok หรือ Krung Thep Maha Nakhon ก็ได้ (Bangkok มาจากคำว่าบางกอก)
- เมืองละโว้ คือจังหวัดลพบุรีในปัจจุบัน
- เมืองธนบุรี คือ ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน
- นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ คือจังหวัดเชียงใหม่ในปัจจุบัน
- เมืองหลวงปัจจุบัน จะใช้ Bangkok หรือ Krung Thep Maha Nakhon ก็ได้ (Bangkok มาจากคำว่าบางกอก)
- เมืองละโว้ คือจังหวัดลพบุรีในปัจจุบัน
- เมืองธนบุรี คือ ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน
- นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ คือจังหวัดเชียงใหม่ในปัจจุบัน
ภาค
ประเทศไทยแบ่งออกเป็น 6 ภาค ได้แก่
- ภาคเหนือ มี 9 จังหวัด
- ภาคกลาง มี 21 จังหวัด และ 1 เขตปกครองรูปแบบพิเศษ (22 จังหวัดโดยอนุโลม)
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 20 จังหวัด
- ภาคใต้ มี 14 จังหวัด
- ภาคตะวันออก มี 7 จังหวัด
- ภาคตะวันตก มี 5 จังหวัด
ประเทศไทยแบ่งออกเป็น 6 ภาค ได้แก่
- ภาคเหนือ มี 9 จังหวัด
- ภาคกลาง มี 21 จังหวัด และ 1 เขตปกครองรูปแบบพิเศษ (22 จังหวัดโดยอนุโลม)
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 20 จังหวัด
- ภาคใต้ มี 14 จังหวัด
- ภาคตะวันออก มี 7 จังหวัด
- ภาคตะวันตก มี 5 จังหวัด
ดูเพิ่มเติม :
ภาคของประเทศไทย
ภาคเหนือของประเทศไทย
ภาคกลางของประเทศไทย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ภาคใต้ของประเทศไทย
ภาคตะวันออกของประเทศไทย
ภาคตะวันตกของประเทศไทย
การแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค
- จังหวัด : ประเทศไทยมี 76 จังหวัด กับ 2 เขตปกครองพิเศษ (กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา) แต่มักจะถือกันว่าประเทศไทยมี 77 จังหวัดโดยอนุโลม ส่วนพัทยาอยู่ในอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
- อำเภอ : ประเทศไทยมี 878 อำเภอ กับ 50 เขต (กรุงเทพมหานคร)
- ตำบล : ประเทศไทยมี 9,652 ตำบล กับ 180 แขวง (กรุงเทพมหานคร) (ข้อมูล ณ พ.ศ. 2552)
- หมู่บ้าน : ประเทศไทยมี 74,956 หมู่บ้าน (ข้อมูล ณ พ.ศ. 2552)
ภาคของประเทศไทย
ภาคเหนือของประเทศไทย
ภาคกลางของประเทศไทย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ภาคใต้ของประเทศไทย
ภาคตะวันออกของประเทศไทย
ภาคตะวันตกของประเทศไทย
การแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค
- จังหวัด : ประเทศไทยมี 76 จังหวัด กับ 2 เขตปกครองพิเศษ (กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา) แต่มักจะถือกันว่าประเทศไทยมี 77 จังหวัดโดยอนุโลม ส่วนพัทยาอยู่ในอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
- อำเภอ : ประเทศไทยมี 878 อำเภอ กับ 50 เขต (กรุงเทพมหานคร)
- ตำบล : ประเทศไทยมี 9,652 ตำบล กับ 180 แขวง (กรุงเทพมหานคร) (ข้อมูล ณ พ.ศ. 2552)
- หมู่บ้าน : ประเทศไทยมี 74,956 หมู่บ้าน (ข้อมูล ณ พ.ศ. 2552)
ดูเพิ่มเติม :
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยพร้อมขนาดพื้นที่
รายชื่ออำเภอในประเทศไทย
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- องค์การบริหารส่วนจังหวัด 76 แห่ง
- เทศบาลนคร 30 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเทศบาลนครในประเทศไทย)
- เทศบาลเมือง 195 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเทศบาลเมืองในประเทศไทย)
- เทศบาลตำบล 2,237 แห่ง
- องค์การบริหารส่วนตำบล 5,300 แห่ง
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยพร้อมขนาดพื้นที่
รายชื่ออำเภอในประเทศไทย
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- องค์การบริหารส่วนจังหวัด 76 แห่ง
- เทศบาลนคร 30 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเทศบาลนครในประเทศไทย)
- เทศบาลเมือง 195 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเทศบาลเมืองในประเทศไทย)
- เทศบาลตำบล 2,237 แห่ง
- องค์การบริหารส่วนตำบล 5,300 แห่ง
เขตปกครองพิเศษ
- กรุงเทพมหานคร
- เมืองพัทยา
- กรุงเทพมหานคร
- เมืองพัทยา
รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 (ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมาแล้ว 20 ฉบับ - มากที่สุดในเอเชีย)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 (ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมาแล้ว 20 ฉบับ - มากที่สุดในเอเชีย)
รัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย คือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกนี้ให้แก่ปวงชนชาวไทยทุกคน เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
ดูเพิ่มเติม : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ดูเพิ่มเติม : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ระบอบการปกครอง
ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส่วนในอดีตนั้นเราใช้การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัย และใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัชการที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส่วนในอดีตนั้นเราใช้การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัย และใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัชการที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ในระบบปัจจุบัน พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ผ่าน 3 องค์กร กล่าวคือ
- อำนาจบริหาร ผ่านคณะรัฐมนตรี
- อำนาจนิติบัญญัติ ผ่านรัฐสภา
- อำนาจตุลาการ ผ่านศาลยุติธรรม
- อำนาจบริหาร ผ่านคณะรัฐมนตรี
- อำนาจนิติบัญญัติ ผ่านรัฐสภา
- อำนาจตุลาการ ผ่านศาลยุติธรรม
การเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งหลังสุด
ประเทศไทยเปลี่ยนการปกครองครั้งหลังสุดจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 (โดยการยึดอำนาจของคณะราษฎร์) และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
ประเทศไทยเปลี่ยนการปกครองครั้งหลังสุดจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 (โดยการยึดอำนาจของคณะราษฎร์) และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
นายกรัฐมนตรี
ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 29 คน นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือพลเอกประยุทธิ์ จันทร์โอชา ส่วนนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทยคือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 29 คน นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือพลเอกประยุทธิ์ จันทร์โอชา ส่วนนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทยคือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
ดูเพิ่มเติม : รายชื่อนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
------------------------------------------------------------------------------------------------
หมวดอื่น ๆ
- รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศ : +66
- Time zone : UTC+7 หรือ GMT+7
- Internet TLDs : .th
- สกุลเงิน : บาท (Baht, THB)
- ดอกไม้ประจำชาติ : ดอกราชพฤกษ์ / ดอกคูน
- สัตว์ประจำชาติ : ช้าง
- รหัสไปรษณีย์ : ระบบโค้ดตัวเลข 5 ตัว (ดูเพิ่มเติม : รหัสไปรษณีย์ประเทศไทย)