สวนรุกขชาติในประเทศไทย มีกี่แห่ง ที่ไหนบ้าง?

คำถาม ... สวนรุกขชาติในประเทศไทย มีกี่แห่ง ที่ไหนบ้าง?

เฉลย ...
สวนรุกขชาติในประเทศไทย มี 53 แห่ง

สวนรุกขชาติในประเทศไทย ทั้ง 53 แห่ง มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1. สวนรุกขชาติบ้านแพะ

  • ที่ตั้ง : จังหวัดอุตรดิตถ์
  • พื้นที่ : 95 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : 8 ตุลาคม 2534

2. สวนรุกขชาติซับชมภู

  • ที่ตั้ง : จังหวัดเพชรบูรณ์
  • พื้นที่ : 180 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2527

3. สวนรุกขชาติเมืองราด

  • ที่ตั้ง : จังหวัดเพชรบูรณ์
  • พื้นที่ : 47 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : 4 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535

4. สวนรุกขชาติไพศาลี

5. สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร

  • ที่ตั้ง : จังหวัดพิจิตร
  • พื้นที่ : 316.5 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2520

6. สวนรุกขชาติเชตวัน

  • ที่ตั้ง : จังหวัดแพร่
  • พื้นที่ : 33 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : 29 เมษายน พ.ศ. 2559

7. สวนรุกขชาติช่อแฮ

  • ที่ตั้ง : จังหวัดแพร่
  • พื้นที่ : 52 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2504

8. สวนรุกขชาติห้วยทรายขาว

  • ที่ตั้ง : จังหวัดแพร่
  • พื้นที่ : 25 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ.2522

9. สวนรุกขชาติห้วยโรง

  • ที่ตั้ง : จังหวัดแพร่
  • พื้นที่ : 100 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2518

10. สวนรุกขชาติห้วยทาก

  • ที่ตั้ง : จังหวัดลำปาง
  • พื้นที่ : 80 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2535

11. สวนรุกขชาติพระบาท

  • ที่ตั้ง : จังหวัดลำปาง
  • พื้นที่ : 2,120 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : 19 กันยายน พ.ศ. 2540

12. สวนรุกขชาติห้างฉัตร

  • ที่ตั้ง : จังหวัดลำปาง
  • พื้นที่ : 200 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2539

13. สวนรุกขชาติห้วยน้ำอุ่น

14. สวนรุกขชาติเขาดินไพรวัน

  • ที่ตั้ง : จังหวัดสุโขทัย
  • พื้นที่ : 190 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2538

15. สวนรุกขชาติโป่งสลี

16. สวนรุกขชาติ 80 พรรษามหาราชินี

  • ที่ตั้ง : จังหวัดเชียงราย
  • พื้นที่ : 500 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2555

17. สวนรุกขชาติไม้เมืองหนาว

18. สวนรุกขชาติห้วยแก้ว

  • ที่ตั้ง : จังหวัดเชียงใหม่
  • พื้นที่ : 7 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2456

19. สวนรุกขชาติแม่สุริน

  • ที่ตั้ง : จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • พื้นที่ : 3,293 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2525

20. สวนรุกขชาติห้วยชมภู

  • ที่ตั้ง : จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • พื้นที่ : 2,000 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2496

21. สวนรุกขชาติดอยหมากหินหอม

  • ที่ตั้ง : จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • พื้นที่ : 1,031 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2539

22. สวนรุกขชาติโป่งแข่

  • ที่ตั้ง : จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • พื้นที่ : 116 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2526

23. สวนรุกขชาติน้ำผุดทัพลาว

24. สวนรุกขชาติภูกุ้มข้าว

  • ที่ตั้ง : จังหวัดชัยภูมิ
  • พื้นที่ : 1,474 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2539

25. สวนรุกขชาติพุทธมณฑล

  • ที่ตั้ง : จังหวัดมหาสารคาม
  • พื้นที่ : 300 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2527

26. สวนรุกขชาติท่าสองคอน

  • ที่ตั้ง : จังหวัดมหาสารคาม
  • พื้นที่ : 10 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2528

27. สวนรุกขชาติดงมะอี่

  • ที่ตั้ง : จังหวัดร้อยเอ็ด
  • พื้นที่ : 34 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2533

28. สวนรุกขชาติโพนทราย

  • ที่ตั้ง : จังหวัดร้อยเอ็ด
  • พื้นที่ : 115 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2527

29. สวนรุกขชาติปากปวน

  • ที่ตั้ง : จังหวัดเลย
  • พื้นที่ : 650 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2538

30. สวนรุกขชาติภูข้าว

  • ที่ตั้ง : จังหวัดเลย
  • พื้นที่ : 2,000 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : 2536

31. สวนรุกขชาติเขาสวนกวาง

  • ที่ตั้ง : จังหวัดขอนแก่น
  • พื้นที่ : 44 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2553

32. สวนรุกขชาติลุ่มน้ำพอง (โสกแต้)

  • ที่ตั้ง : จังหวัดขอนแก่น
  • พื้นที่ : 407 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2553

33. สวนรุกขชาติอุบลวนารมย์

34. สวนรุกขชาติน้ำตกสำโรงเกียรติ

  • ที่ตั้ง : จังหวัดศรีสะเกษ
  • พื้นที่ : 601 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2541

35. สวนรุกขชาติดงบังอี่

  • ที่ตั้ง : จังหวัดมุกดาหาร
  • พื้นที่ : 440 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2530

36. สวนรุกขชาติน้ำตกธารทอง

37. สวนรุกขชาติ 60 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-ลาว 

  • ที่ตั้ง : จังหวัดหนองคาย
  • พื้นที่ : 57 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2557

38. สวนรุกขชาติวังปอพาน

39. สวนรุกขชาติบ้านดุง

  • ที่ตั้ง : จังหวัดอุดรธานี
  • พื้นที่ : 35 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2552

40. สวนรุกขชาติเขาฉกรรจ์

  • ที่ตั้ง : จังหวัดสระแก้ว
  • พื้นที่ : 488 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2522

41. สวนรุกขชาติมวกเหล็ก

  • ที่ตั้ง : จังหวัดสระบุรี
  • พื้นที่ : 115 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2497

42. สวนรุกขชาติวังก้านเหลือง

  • ที่ตั้ง : จังหวัดลพบุรี
  • พื้นที่ : 350 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2522

43. สวนรุกขชาติคูเมือง

44. สวนรุกขชาติเขาย้อย

45. สวนรุกขชาติถ้ำจอมพล

  • ที่ตั้ง : จังหวัดราชบุรี
  • พื้นที่ : 173 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2497

46. สวนรุกขชาติด่านช้าง

  • ที่ตั้ง : จังหวัดสุพรรณบุรี
  • พื้นที่ : 56 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2543

47. สวนรุกขชาติกำแพงแสน

48. สวนรุกขชาติเขาพุทธทอง

49. สวนรุกขชาติรักษะวาริน

50. สวนรุกขชาติถ้ำเขานุ้ย

51. สวนรุกขชาติพฤกษามหาราชินี

  • ที่ตั้ง : จังหวัดปัตตานี
  • พื้นที่ : 25 ไร่
  • ปีที่จัดตั้ง : พ.ศ. 2538

52. สวนรุกขชาติสมเด็จพระปิ่นเกล้า

53. สวนรุกขชาติหนองตาอยู่

สวนรุกขชาติห้วยแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2456
เครดิตภาพ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

จำนวนสวนรุกขชาติแยกตามจังหวัด มีดังนี้
  • จังหวัดขอนแก่น 2 แห่ง
  • จังหวัดฉะเชิงเทรา 1 แห่ง
  • จังหวัดเชียงราย 2 แห่ง
  • จังหวัดเชียงใหม่ 2 แห่ง
  • จังหวัดชัยภูมิ 2 แห่ง
  • จังหวัดชลบุรี 1 แห่ง
  • จังหวัดนครปฐม 1 แห่ง
  • จังหวัดนครพนม 1 แห่ง
  • จังหวัดนครสวรรค์ 1  แห่ง
  • จังหวัดน่าน 2 แห่ง
  • จังหวัดปัตตานี 1 แห่ง
  • จังหวัดพิจิตร 1 แห่ง
  • จังหวัดเพชรบุรี 1 แห่ง
  • จังหวัดเพชรบูรณ์ 2 แห่ง
  • จังหวัดแพร่ 4 แห่ง
  • จังหวัดมหาสารคาม 2 แห่ง
  • จังหวัดมุกดาหาร 2 แห่ง
  • จังหวัดแม่ฮ่องสอน 4 แห่ง
  • จังหวัดระนอง 1 แห่ง
  • จังหวัดราชบุรี 1 แห่ง
  • จังหวัดร้อยเอ็ด 2 แห่ง
  • จังหวัดเลย 2 แห่ง
  • จังหวัดลำปาง 3 แห่ง
  • จังหวัดลพบุรี 1 แห่ง
  • จังหวัดศรีสะเกษ 1 แห่ง
  • จังหวัดสระแก้ว 2 แห่ง
  • จังหวัดสิงห์บุรี 1 แห่ง
  • จังหวัดสงขลา 1 แห่ง
  • จังหวัดสุโขทัย 1 แห่ง
  • จังหวัดสุพรรณบุรี 1 แห่ง
  • จังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 แห่ง
  • จังหวัดอุตรดิตถ์ 1 แห่ง
  • จังหวัดอุดรธานี 1 แห่ง
  • จังหวัดอุบลราชธานี 1 แห่ง
  • จังหวัดหนองคาย 2 แห่ง
สวนรุกขชาติ (Arboretum) เป็นสวนที่มีขนาดเล็กกว่าสวนพฤกษศาสตร์ เน้นใช้พื้นที่น้อยและสิ้นเปลืองงบประมาณในการบริหารจัดการที่น้อยกว่าสวนพฤกษศาสตร์ ทำให้มีการจัดสร้างสวนรุกขชาติเพิ่มมากขึ้น การดำเนินงานสวนรุกขชาติของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จึงเป็นลักษณะของการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ป่าธรรมชาติหรือสวนป่าดั้งเดิมเป็นหลัก โดยเป็นแหล่งรวบรวมพรรณไม้ท้องถิ่น รวมแมกไม้ที่มีค่าทางศรษฐกิจ พืชหายาก และพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ในท้องถิ่นนั้น ๆ โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่หย่อมป่าสงวนดั้งเดิม มีต้นไม้เดิมหรือบางที่เป็นพื้นที่สวนป่าเดิมที่ไม่มีการบำรุงรักษาต่อไปแล้ว จึงได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นสวนรุกขชาติ มีการปลูกพรรณไม้เสริม พร้อมกับติดป้ายชื่อพรรณไม้ เพื่อให้ความรู้ชนิดพรรณไม้แก่ประชาชน เพื่อเป็นแหล่งศึกษาวิจัยพรรณไม้ต่าง ๆ ที่รวบรวมไว้ เช่น การเจริญเติบโต การขยายพันธุ์ การปลูกพรรณไม้ในสวนรุกขชาติส่วนใหญ่จะเป็นไม้ต้นปลูกปะปนกันไป โดยเน้นความสวยงามตามธรรมชาติให้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน

ปัจจุบัน สวนรุกขชาติในประเทศไทยอยู่ในการดูแลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


SCAM ALERT !!! ... เตือนภัยมิจฉาชีพ

เตือนภัย!! ... มิจฉาชีพระบาด วิธีเอาตัวรอดจากแก๊งค์คอลเซ็นเตอร์

เตือนภัย !!! อย่าหลงกลมิจฉาชีพและแก๊งค์คอลเซ็นเตอร์ ในปัจจุบันต้องยอมรับว่ามิจฉาชีพและแก๊งค์คอลเซ็นเตอร์กำลังระบาดอย่างหนักทั่วโลกรวมถึงประ...